(หลักสูตรเร่งรัด) ความเข้าใจภาพรวมของการประยุกต์ใช้ Core Tools สำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์

รหัสวิชา ITS020(Course : Understanding and Implementing of Automotive Core Tools (APQP, PPAP, MSA, SPC, FMEA) รายละเอียดหลักสูตร DAY:1 การวางแผนคุณภาพผลิตภัณฑ์ใหม่ด้วย APQP APQP Phase 1-3 การออกแบบ Process Flow Chart การวิเคราะห์ความผิดพลาดด้วย FMEA ข้อผิดพลาดจากการจัดทำและปรับปรุง FAEA Day 2 การนำผลการวิเคราะห์ FMEA ลงสู่ภาคปฏิบัติด้วย Control plan การจัดทำ และ Update Control Plan การเชื่อมโยง Process Flow Chart, FMEA และ Control Plan APQP Phase 3-4 การควบคุมกระบวนการผลิตด้วยเทคนิค SPC […]

การประยุกต์ใช้กระบวนการอนุมัติชิ้นส่วนเพื่อการผลิต (PPAP)

รหัสวิชา ITS018(Course : Application of PPAP ) ทำไมต้องอบรมหลักสูตรนี้ เพื่อให้ท่านมีความเข้าใจในแนวคิดกระบวนการอนุมัติชิ้นส่วนเพื่อการผลิตจริง ตามความต้องการและข้อกำหนดของลูกค้า สามารถเตรียมความพร้อมของหลักฐานในการส่ง PPAP ให้กับลูกค้ารับรอง , อีกทั้งสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับผู้ส่งมอบชิ้นส่วนหรือกระบวนการจ้างภายนอกทำ รายละเอียดหลักสูตร แนวคิดและเป้าหมายของ PPAP ข้อกำหนดที่เกี่ยวกับ PPAP ใน IATF16949:2016 ขั้นตอนกระบวนการการจัดทำ PPAP เงื่อนไขและข้อกำหนดการรับรองผลิตภัณฑ์และกระบวนการของลูกค้า (Product and Process Approval) ระดับความเข้มงวดในการรับรอง PPAP เอกสารและหลักฐานที่ต้องจัดทำและส่งให้ลูกค้าในการจัดทำ PPAP สถานการณ์ที่จำเป็นต้องมีการจัดทำและแก้ไข PPAP สถานะของผลการอนุมัติผลิตภัณฑ์ (PPAP Submission Status) การจัดทำ PPAP .ให้สอดคล้องตามข้อกำหนดเฉพาะของลูกค้า เช่น GM, Ford การทบทวนและการตรวจประเมิน PPAP อย่างมีประสิทธิผล ใครเหมาะเรียนหลักสูตรนี้ APQP team ผู้รับผิดชอบในการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ Internal Auditor ที่ตรวจประเมิน […]

การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ระบบการวัด (MSA)

หลักสูตร “การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ระบบการวัด (MSA)”รหัสวิชา ITS017(Course : Application of MSA) ทำไมต้องอบรมหลักสูตรนี้ เพื่อให้ท่านเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการวัด, การวิเคราะห์ระบบการวัด รวมถึงการประยุกต์ใช้ ผลการวิเคราะห์ระบบการวัดเพื่อปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และสามารถประยุกต์ใช้หลักการทางสถิติในการวิเคราะห์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รายละเอียดหลักสูตร ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด บทบาทของ MSA ใน IATF16949:2016 คุณสมบัติของระบบการวัดที่ดี องค์ประกอบของระบบการวัด ประเภทการผันแปรของระบบการวัด และการประเมินความผันแปร ความเอนเอียง ความเป็นเส้นตรง ความเสถียรภาพ ความสามารถในการวัดซ้ำ ความสามารถในการประเมินซ้ำ การศึกษาระบบการวัดจากข้อมูลเชิงนับ การวิเคราะห์ผลจากการประเมิน การวิเคราะห์ระบบการวัดโดยใช้กราฟ การปรับปรุงระบบการวัด ข้อควรระวังในการศึกษาระบบการวัด ความล้มเหลวในการจัดทำ MSA ใครเหมาะเรียนหลักสูตรนี้ ผู้บริหาร, หัวหน้างานและพนักงานที่ต้องการเข้าใจหลักของการวิเคราะห์ระบบการวัด, ผู้ที่ใช้เครื่องมือในการปฏิบัติงาน, เจ้าหน้าที่ฝ่าย QA/QC, ผู้รับผิดชอบในการสอบเทียบเครื่องมือวัด จำนวนวันที่ใช้อบรม 2 วัน

การประยุกต์ใช้การควบคุมกระบวนการผลิตเชิงสถิติ (SPC )

รหัสวิชา ITS016(Course : Application of SPC) ทำไมต้องอบรมหลักสูตรนี้ เพื่อให้ท่านเกิดความเข้าใจพื้นฐานการหาสถิติที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต และเลือกใช้เทคนิคทางสถิติที่เหมาะสม เพื่อควบคุมกระบวนการผลิตและสามารถวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เครื่องมือทางสถิติได้อย่างมีประสิทธิภาพ รายละเอียดหลักสูตร ความหมายและประโยชน์ของ SPC บทบาท SPC ใน IATF 16949:2016 ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับแนวคิดทางสถิติ การเลือกใช้เทคนิค เพื่อควบคุมกระบวนการ แผนภูมิควบคุมและการนำไปใช้ ความหมายของแผนควบคุม โครงสร้างของแผนควบคุม การประยุกต์ใช้แผนควบคุม ประเภทของแผนควบคุม การจัดทำแผนควบคุม การวิเคราะห์และตีความจากแผนภูมิควบคุม การใช้แผนควบคุมกับงานผลิตแบบสั้น แผนควบคุมตามคุณลักษณะ โครงสร้างของแผนภูมิ สำหรับข้อมูลเชิงนับ การเลือกใช้ การจัดทำ ความสามารถและสมรรถนะของกระบวนการ การประเมินความสามารถของกระบวนการ การปรับปรุงกระบวนการ ข้อผิดพลาดจากการใช้ SPC ใครเหมาะเรียนหลักสูตรนี้ ผู้บริหาร, หัวหน้างานและพนักงานที่ต้องการเข้าใจหลักของการควบคุมกระบวนการผลิตเชิงสถิติ, เจ้าหน้าที่ฝ่ายผลิต, เจ้าหน้าที่ฝ่ายควบคุมคุณภาพ QA,QC จำนวนวันที่ใช้อบรม 2 วัน

การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์แนวโน้มความล้มเหลว ( FMEA)

รหัสวิชา ITS015(Course : Application of FMEA) ทำไมต้องอบรมหลักสูตรนี้ เพื่อให้ท่านมีความเข้าใจหลักการและการประยุกต์ใช้เทคนิค FMEAในการป้องกันปัญหาความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นในการออกแบบและการผลิต ในหน่วยงานของตนเองผลจากการจัดทำ FMEA จะทำให้เรามองเห็นโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด และสามารถหาวิธีป้องกันล่วงหน้าได้ ซึ่งจะส่งผลให้ต้นทุนคุณภาพโดนรวมขององค์กรลดลง เนื่องจากค่าใช้จ่ายในการป้องกันปัญหาโดยปรกติแล้วจะน้อยกว่ามูลค่าความเสียหายเมื่อเกิดปัญหาขึ้นแล้วเป็นอย่างมาก รายละเอียดหลักสูตร ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับ FMEA อะไรคือ FMEA ประวัติของ FMEA ประโยชน์ของ FMEA FMEA กับ IATF 16949:2016 การจัดทำ FMEA ประเภทของ FMEA การจัดทำ ผังการไหล และ FMEA การประเมิน และหาค่า RPN การวิเคราะห์ FMEA เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิต แนวคิดการควบคุมกระบวนการแบบ Zero Defect เครื่องมือที่ช่วยในการจัดทำ FMEA ความสัมพันธ์ระหว่าง Process Flow chart, FMEA, Control plan และ […]

การประยุกต์ใช้กระบวนการวางแผนผลิตภัณฑ์ล่วงหน้า ( APQP)

รหัสวิชา ITS014(Course : Application of APQP ) ทำไมต้องอบรมหลักสูตรนี้ เพื่อให้ท่านมีความเข้าใจในแนวคิดกระบวนการและเทคนิคในการทำ APQP เพื่อประกันคุณภาพของผลิตภัณฑ์ก่อนการผลิตจริง รายละเอียดหลักสูตร แนวคิดและเป้าหมายของการทำ APQP ภาพรวมของระยะทั้ง 5 ของ APQP ขั้นตอนการทำ APQP ทั้ง 5 ระยะและความเชื่อมโยงของแต่ละระยะ เทคนิคที่มีส่วนช่วยในการทำ APQP อย่างมีประสิทธิภาพ อุปสรรคที่มักจะพบขณะทำ APQP การเชื่อมโยงของการทำ APQP กับ FMEA, SPC, MSA, PPAP Workshop การทำ APQP และความต้องการของลูกค้า ใครเหมาะเรียนหลักสูตรนี้ ผู้บริหาร, หัวหน้างานและพนักงาน ที่ต้องการเข้าใจ หลักของกระบวนการวางแผนผลิตภัณฑ์ล่วงหน้า และกระบวนการอนุมัติชิ้นส่วนเพื่อการผลิต จำนวนวันที่ใช้อบรม 1 วัน

การตรวจติดตามภายในแบบ Automotive Process Approach

รหัสวิชา ITS013(Course : Practical and Teachniques for Automotive Process Approach Auditing) ทำไมต้องอบรมหลักสูตรนี้ เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของผู้ตรวจประเมินให้สามารถตรวจประเมินแบบมืออาชีพและใช้เทคนิคการตรวจที่ได้เรียนรู้ไปพัฒนาสมรรถนะขององค์กร รายละเอียดหลักสูตร การวางแผนการตรวจประเมินแบบ Process Approach เทคนิคการคัดเลือกทีมผู้ตรวจประเมิน การเตรียมตัวก่อนตรวจประเมินโดยเทคนิค “รู้เขารู้เรา” หลักการตั้งคำถามในการตรวจประเมิน โดยใช้แผนภูมิเต่า (Turtle Diagram) และเทคนิคการเชื่อมโยงข้อกำหนด IATF 16949:2016 Checklist แบบแผนภูมิเต่า และ Mind-mapping เทคนิคการตั้งคำถามที่มากกว่าคำถามเปิดและปิด เทคนิคการ Audit ในการหาจุดอ่อนและจุดวิกฤตของระบบ เทคนิคการตรวจประเมินและบวนการผลิต (Manufacturing process audit) เทคนิคการเขียนรายงานแบบ APPLES และ แบบ IATF การวิเคราะห์ปัญหาและติดตามผลหลังการตรวจประเมิน ใครเหมาะเรียนหลักสูตรนี้ ทีมผู้ตรวจประเมิน เจ้าหน้าที่ฝ่ายควบคุมคุณถาพ (QA/QC) ผู้ที่มีหน้าที่ในการคัดเลือกและพัฒนาผู้ขาย จำนวนวันที่ใช้อบรม 1 วัน

เทคนิคขั้นสูงสำหรับการเป็นผู้ตรวจติดตามภายใน IATF 16949:2016 โดยใช้ Mind Map

รหัสวิชา ITS012(Course : Advanced Techniques by using Mind Map for IATF 16949 :2016 Internal Auditor) ทำไมต้องอบรมหลักสูตรนี้ เพื่อเพิ่มเทคนิคการตรวจประเมินระบบที่มีแบบแผนและเป็นลำดับขั้นตอน เพื่อสามารถตรวจระบบให้เห็นการเชื่อมโยงของครอบคลุมข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ตรวจประเมินระบบและกระบวนการได้อย่างมีประสิทธิผล รายละเอียดหลักสูตร ทบทวนข้อกำหนด IATF 16949:2016 เข้าใจและวิเคราะห์ความเสี่ยงของกระบวนการที่จะถูก Audit โดยใช้แผนภูมิเต่า (Turtle Diagram) การมองหาจุดวิกฤตและจุดอ่อนของกระบวนการที่จะ Audit การจัดทำ Audit Checklist แบบ Mind Map โดยใช้พื้นฐานของแผนภูมิเต่า Workshop การตรวจประเมินโดยใช้ Mind Map checklist สรุปประเด็นเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการตรวจติดตามภายใน ใครเหมาะเรียนหลักสูตรนี้ ผู้ตรวจติดตามภายในที่มีความรู้ในมาตรฐาน IATF 16949:2016 มาแล้ว บริษัทที่ได้การรับรอง IATF 16949:2016 จำนวนวันที่ใช้อบรม 1 วัน

(หลักสูตรเร่งรัด) เข้าใจข้อกำหนดและสร้างทีมผู้ตรวจติดตามภายใน IATF 16949:2016 แบบมืออาชีพ

รหัสวิชา ITS011(Course : Shortcut to IATF16949:2016 Requirements and Internal Audit) ทำไมต้องอบรมหลักสูตรนี้ เพื่อให้ทีมงานที่ทำระบบ IATF16949:2016 เข้าใจถึงความต้องการของมาตรฐานในแต่ละข้อกำหนดอย่างง่าย สามารถประยุกต์ใช้ข้อกำหนดให้สอดคล้องกับกระบวนการของตัวเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถดำเนินการตรวจติดตามภายในได้อย่างมีระบบและสอดคล้องตามมาตรฐาน เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถเข้าใจและมีเทคนิคในการตรวจที่ดี เหมือนที่ CB Auditor ใช้ รายละเอียดหลักสูตร วันที่ 1 โครงสร้างของมาตรฐาน IATF16949:2016 ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริการเชิงกระบวนการ แนวคิด Plan-Do-Check-Action ระบบบริหารงานคุณภาพ Äขอบเขต, คำจำกัดความ, การจัดโครงสร้างระบบเอกสารและบันทึก ความรับผิดชอบด้านการบริหาร Äนโยบาย, วัตถุประสงค์, การวางแผน, การทบทวนของฝ่ายบริหาร การจัดการทรัพยากร Ä ทรัพยากรบุคคล, ข้อมูล, สิ่งอำนวยความสะดวก, การฝึกอบรม กระบวนการทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ Ä ความต้องการของลูกค้า, การวางแผนกระบวนการทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ การออกแบบและการพัฒนา, การจัดซื้อ, การผลิต, การให้บริการ, อื่นๆ การวัด, การวิเคราะห์,การปรับปรุง […]

ทบทวนข้อกำหนดและเสริมเทคนิคการตรวจติดตามภายใน IATF 16949:2016

รหัสวิชา ITS010(Course : Refreshing IATF 16949:2016 Requirements and Internal Audit techniques ทำไมต้องอบรมหลักสูตรนี้ เพื่อทบทวนและเพิ่มเติมความรู้สำหรับผู้เข้าอบรมให้เข้าใจถึงข้อกำหนดที่เปลี่ยนไปและอัพเกรดเป็นผู้ตรวจติดตามในข้อกำหนดใหม่ รายละเอียดหลักสูตร วันที่ 1• ทบทวนข้อกำหนด IATF 16949:2016• ความหมายและประเภทของการตรวจประเมินกระบวนการ / วัฏจักรของการตรวจประเมิน• การวางแผนการตรวจประเมิน• การเตรียมตัวก่อนการตรวจประเมิน• การจัดทำ checklist แบบ Process Approach วันที่ 2• ขั้นตอนการตรวจประเมิน• เทคนิคการตั้งคำถามและการหาหลักฐานระหว่างการตรวจประเมิน• การตรวจประเมินกระบวนการผลิต/การตรวจประเมินผลิตภัณฑ์• Workshop การจำลองการตรวจประเมิน• การวิเคราะห์ แก้ไขและการติดตามผลการแก้ไข ใครเหมาะเรียนหลักสูตรนี้ ผู้ที่เป็นทีมตรวจติดตามภายในและมีความรู้พื้นฐานข้อกำหนด ISO/TS 16949 เวอร์ชั่นเดิมมาแล้ว บริษัทที่ได้รับการรับรอง ISO/TS 16949 แล้ว จำนวนวันที่ใช้อบรม 2 วัน